ระดับมัธยมศึกษา
สมบัติแฟกทอเรียล
แฟกทอเรียลเป็นหนึ่งในตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ที่เพิ่มเข้ามาในระดับชั้นมัธยมศึกษาที่สำคัญมากๆ
นิยามของแฟกทอเรียล
ผลคูณของจำนวนเต็มบวกทั้งหมดที่น้อยกว่าหรือเท่ากับ n"
สมบัติแฟกทอเรียล
$$\clubsuit\;สมบัติ$$ |
---|
$$1.\;n!=n(n-1)(n-2)...\times 1$$ |
$$2.\;0!=1$$ |
สมบัติของซิกม่า
ซิกม่าถือว่าเป็นตัวชูโรงสำหรับวงการคิดเลขเร็วเลยก็ว่าได้เพราะสามารถทำให้เลขน้อยๆกลายเป็นเลขสูงๆได้
$$\clubsuit\;สมบัติ$$ |
---|
$$1.\;\sum_{i=1}^{n}(i)=\frac{n(n+1)}{2}$$ |
$$2.\;\sum_{i=1}^{n}(i\times i)=\frac{n(n+1)(2n+1)}{6}$$ |
$$3.\;\sum_{i=1}^{n}(i^3)=\left(\sum_{i=1}^{n}(i)\right)^2$$ |
$$4.\;\sum_{i=n}^{m}(\frac{i}{i})=m-n+1$$ |
5.จากข้อที่ 1. สูตรจะใช้ไม่ได้หาก i ไม่เท่ากับ 1 |
6. จากข้อ 1 ซิกม่าจะแบ่งเป็น 3 ส่วน |
7. การประยุกต์ซิกม่า ให้มองเงื่อนไขทุกอย่างให้อยู่ในรูป ระบบสมการ$$\sum_{i=1}^{2}(7(i+3))=\sum_{i=1}^{2}(7i+21)=63$$ |
แฟกทอเรียลและซิกม่าพื้นฐานทั้งหมดที่ควรรู้
แฟกทอเรียล
$$n$$ |
$$n!$$ |
---|---|
0 |
1 |
1 |
1 |
2 |
2 |
3 |
6 |
4 |
24 |
5 |
120 |
6 |
720 |
7 |
5040 |
ซิกม่า(i)พื้นฐาน
$$n$$ |
$$\sum_{i=1}^{n}(i)$$ |
---|---|
$$2$$ |
$$3$$ |
$$3$$ |
$$6$$ |
$$4$$ |
$$10$$ |
$$5$$ |
$$15$$ |
$$6$$ |
$$21$$ |
$$7$$ |
$$28$$ |
$$8$$ |
$$36$$ |
$$9$$ |
$$45$$ |
$$10$$ |
$$55$$ |
$$11$$ |
$$66$$ |
$$12$$ |
$$78$$ |
$$13$$ |
$$91$$ |
$$14$$ |
$$105$$ |
$$15$$ |
$$120$$ |
$$16$$ |
$$136$$ |
$$17$$ |
$$153$$ |
$$18$$ |
$$171$$ |
$$19$$ |
$$190$$ |
$$20$$ |
$$210$$ |
$$21$$ |
$$231$$ |
$$22$$ |
$$253$$ |
$$23$$ |
$$276$$ |
$$24$$ |
$$300$$ |
$$25$$ |
$$325$$ |
$$26$$ |
$$351$$ |
$$27$$ |
$$378$$ |
$$28$$ |
$$406$$ |
$$29$$ |
$$435$$ |
$$30$$ |
$$465$$ |
$$31$$ |
$$496$$ |
$$32$$ |
$$528$$ |
$$33$$ |
$$561$$ |
$$34$$ |
$$595$$ |
$$35$$ |
$$630$$ |
$$36$$ |
$$666$$ |
$$37$$ |
$$703$$ |
$$38$$ |
$$741$$ |
$$39$$ |
$$780$$ |
$$40$$ |
$$820$$ |
$$41$$ |
$$861$$ |
$$42$$ |
$$903$$ |
$$43$$ |
$$946$$ |
$$44$$ |
$$990$$ |
$$45$$ |
$$1035$$ |
ซิกม่า(i+i)พื้นฐาน
$$n$$ |
$$\sum_{i=1}^{n}(i+i)$$ |
---|---|
$$2$$ |
$$6$$ |
$$3$$ |
$$12$$ |
$$4$$ |
$$20$$ |
$$5$$ |
$$30$$ |
$$6$$ |
$$42$$ |
$$7$$ |
$$56$$ |
$$8$$ |
$$72$$ |
$$9$$ |
$$90$$ |
$$10$$ |
$$110$$ |
$$11$$ |
$$132$$ |
$$12$$ |
$$156$$ |
$$13$$ |
$$182$$ |
$$14$$ |
$$210$$ |
$$15$$ |
$$240$$ |
$$16$$ |
$$272$$ |
$$17$$ |
$$306$$ |
$$18$$ |
$$342$$ |
$$19$$ |
$$380$$ |
$$20$$ |
$$420$$ |
$$21$$ |
$$462$$ |
$$22$$ |
$$506$$ |
$$23$$ |
$$552$$ |
$$24$$ |
$$600$$ |
$$25$$ |
$$650$$ |
$$26$$ |
$$702$$ |
$$27$$ |
$$756$$ |
$$28$$ |
$$812$$ |
$$29$$ |
$$870$$ |
$$30$$ |
$$930$$ |
$$31$$ |
$$992$$ |
ซิกม่า(i*i)พื้นฐาน
$$n$$ |
$$\sum_{i=1}^{n}(i \times i)$$ |
---|---|
$$2$$ |
$$5$$ |
$$3$$ |
$$14$$ |
$$4$$ |
$$30$$ |
$$5$$ |
$$55$$ |
$$6$$ |
$$91$$ |
$$7$$ |
$$140$$ |
$$8$$ |
$$204$$ |
$$9$$ |
$$285$$ |
$$10$$ |
$$385$$ |
$$11$$ |
$$506$$ |
$$12$$ |
$$650$$ |
$$13$$ |
$$819$$ |
$$14$$ |
$$1015$$ |
ซิกม่า(i!)พื้นฐาน
$$n$$ |
$$\sum_{i=1}^{n}(i!)$$ |
---|---|
$$2$$ |
$$3$$ |
$$3$$ |
$$9$$ |
$$4$$ |
$$33$$ |
$$5$$ |
$$153$$ |
$$6$$ |
$$873$$ |
$$7$$ |
$$5913$$ |
ควรฝึกอย่างไร
1. สอนสมบัติทุกอย่างตามที่แนะนำข้างต้น
จากสามหัวข้อที่ผ่านมา เป็นสมบัติหรือสิ่งพื้นฐานที่น้องๆควรจะรู้ติดตัวเอาไว้ หากไม่รู้หรือไม่แม่นสามหัวข้อที่กล่าวมา จะทำให้ทุกอย่างไปได้ช้า
2.ต้องจำสูตรยังไง มากน้อยแค่ไหน
อีก 1 คำถามยอดฮิตสำหรับน้องๆและคุณครูหลายๆท่าน
ในระดับประถมศึกษาตอนต้นนั้นสูตรที่เข้าถึงตัวน้องๆได้จะเป็นแค่สูตรเฉพาะเท่านั้น ถ้าถามผมว่ามันจำเป็นไหม ส่วนตัวผมให้ 50 50 แล้วกันครับ แบบรู้ก็ดี
ถึงไม่รู้เราก็สามารถใช้พื้นฐานที่น้องขัดเกลามา สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้อีกครับ
3.การฝึกคิดเลขเร็วไม่ได้เก่งตามจำนวนข้อที่ฝึกไป
คุณครูหรือน้องๆ หลายๆท่าน มักจะยึดติดกับการซ้อมตามจำนวนข้อ "ยิ่งฝึกเยอะ เดี๋ยวก็เก่งขึ้นเรื่อยๆ" ผมจะบอกว่าเป็นความเชื่อที่ไม่ถูกแต่ก็ไม่ได้ผิดซะทีเดียว การฝึกเยอะๆสำหรับผมมันเหมือนกับการนั่งทำอะไรซ้ำๆวนไปวนมาแบบไร้จุดหมาย เพราะเราไม่รู้ว่า "ต้องซ้อมเยอะแค่ไหนถึงจะเรียกได้เต็มปากว่า เก่ง" ซึ่งทางแก้ไขที่ผมจะแนะนำคือ "หาข้อง่ายๆครับ" ถ้าถามผมว่าทำไม ผมมองว่าถึงซ้อมข้อยากๆมันก็ได้แค่วิธีๆเดียว ไม่ได้ครอบคลุมทุกๆอย่าง กลับกันหากหาข้อที่ง่ายๆที่สามารถทำได้หลากหลายรูปแบบ หลากหลายคำตอบ และ หลากหลายวิธีทาง เราจะได้วิธีคิดที่หลากหลายรูปแบบและสามารถประยุกต์ต่อไปในวิธีเฉพาะทางต่อไปได้ครับ
4.คิดเลขเร็วเกณฑ์ราชภัฎนครสวรรค์
เป็นอีก 1 สนามที่ดีมากๆในความคิดของผมเนื่องจากสนามนี้ถึงจะจำสูตรมากแค่ไหน สุดท้ายก็ต้องประยุกต์ในงานอยู่ดี ดังนั้นการจำสูตรจึงไม่ค่อยมีผลมากกับสนามนี้ อย่างที่เราทราบกัน สนามนี้จะมีความแปลกใหม่คือโจทย์ 2 ตัวหน้าบังคับคูณกัน และซิกม่าใช้ i ทั้งสมการได้ไม่เกิน 3 ตัว ซึ่งในปีพ.ศ.2567 โจทย์เปลี่ยนจากการบังคับคูณเป็นบังคับติดกัน ดังนั้นหมายความว่าเลขตัวแรกอาจจะเป็นได้ตั้งแต่ 1 จนถึง 99 เลย
ซึ่งแนวทางการซ้อมในสนามนี้คือ สูตรคูณ จะเห็นผลมากๆในการแข่งขันสนามนี้เพราะในเมื่อเลขมันติดกันแล้ว การคิดแบบใช้ซิกม่าเป็นหลักมันจะยากขึ้น